ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว อาชีพนักข่าว หรือนักหนังสือพิมพ์ ถือได้ว่าเ การแปล - ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว อาชีพนักข่าว หรือนักหนังสือพิมพ์ ถือได้ว่าเ ไทย วิธีการพูด

ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว อาชีพนัก

ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว
อาชีพนักข่าว หรือนักหนังสือพิมพ์ ถือได้ว่าเป็นอาชีพที่มีลักษณะเป็น "อาชีวปฏิญาณ" อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติดังนี้
1. การเป็นผู้ที่มีบุคลิกอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) เพราะความอยากรู้อยากเห็น กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น สนใจในเหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นรอบๆ ตัว โดยชักนำไปสู่ความสงสัยใคร่รู้ถึงสาเหตุ ความเป็นมาของเหตุการณ์ จนกระทั่งออกไปค้นหา ข้อเท็จจริง ที่ถูกปิดบังเอาไว้ เพื่อนำมาตีแผ่ให้สาธารณชน ได้รับทราบในที่สุด
2. การเป็นคนช่างสังเกต (Observance) เป็นบุคลิกคล้ายกับนักสืบ คือ ต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกต ในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ของข้อเท็จจริงที่ประกอบขึ้นเป็นข่าว เนื่องจากรายละเอียด ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อปกปิดร่องรอยเหตุการณ์ ที่อาจกลายเป็นข่าวใหญ่ได้
3. การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆ (Cynical) หรือเป็นคนช่างสงสัย บุคลิกนี้แม้จะทำดูประหนึ่งว่า เป็นคนมองโลก ในแง่ร้ายอยู่ตลอดเวลา แต่การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆ หรือเป็นคนช่างสงสัย จะทำให้ผู้ที่มีอาชีพนักข่าวได้คอยสอดส่อง และกำกับการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในฐานะตัวแทน ของประชาชน
4. การมีจมูกไวต่อข่าว (Nose for News) บุคลิกนี้เปรียบเสมือนกับเป็น "ประสาทสัมผัสที่หก" (Sixth Sense) ของนักหนังสือพิมพ์หรือนักข่าว ซึ่งจะทำให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ที่มีคุณค่าทางข่าว ออกจากข้อมูลที่ได้รับมาทั้งหมดได้ รวมทั้งแยกแยะเงื่อนงำ (Clues) ที่แฝงอยู่ในข้อเท็จจริง ที่เป็นเหตุการณ์ออกมา เพื่อนำไปสู่การเปิดโปง พฤติกรรมต่างๆ ได้
5. การเป็นคนที่มีความสามารถ ทำงานภายใต้ความกดดันได้ เพราะผู้ประกอบอาชีพนี้ จะต้องประสบกับ ความกดดัน หลายรูปแบบ ทั้งความกดดัน ทางภาวะเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากรายได้ จากการประกอบอาชีพ ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และความกดดันทางครอบครัว เนื่องจากภาระหน้าที่ อาจทำให้มีเวลา อยู่กับครอบครัวน้อยเกินไป นอกจากนี้ ยังต้องมี "เส้นตาย" (Deadline) คอยกำกับการทำงาน จะต้องรวดเร็ว และถูกต้อง ในช่วงเวลาอันจำกัดอีกด้วย
สรุปในแง่ของความคิด คือ การเป็นนักข่าวนั้น มีทั้งของดีข้อเสีย และเสี่ยงกับอุปสรรคมากมาย แต่ทุกสายอาชีพ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ ถ้าลองคิดในแง่ดีการที่เรามีข่าวสารดีๆ มากมายเกิดขึ้น ทำให้เราสามารถบริโภคข่าวสารที่มีประโยช์น ก็เกิดขึ้นกับนักข่าว แต่ในแง่ไม่ดี ก็คือ ข่าวบางประเภททำให้ผู้บริโภคเกิดการขัดแย้งกัน และยุ่งเรื่องส่วนตัวมากเกินไป โปรดจงเข้าใจด้วยน่ค่ะ ว่า พวกบรรดานักข่าวไม่สามารถรู้ได้เลย ถ้าไม่มีในเรื่องของผลประโยชน์หรือรับจ้างเขียนเรื่องให้ คงห้ามนักข่าวหรือผู้ประกอบวิชาชีพรับไม่ได้แน่ๆ เพราะบางครั้งเป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่าย ผู้จ้างที่มีเงินก็พอใจที่เลือกจ้างในราคาที่แพง ส่วนคนเขียนก็ไม่มีใครปฏิเสธที่จะรับเงินค่าจ้างที่ในราคาสูง อย่างไรก็ตาม การมีอาชีพของเสริมเป็นที่ปรึกษาด้านภาพลักษณ์ของนักข่าวสมัยนี้ บางครั้งบางกรณีก็ไม่ได้เสียหายถึงขั้นผิดจริยธรรมวิชาชีพ เพราะการเป็นที่ปรึกษาให้แหล่งข่าวบางครั้งไม่ได้หมายความว่าจะต้องมีค่าตอบแทนเป็นตัวเงินหรือผลประโยชน์เสมอไป ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่มุมมองและเจตนาของแต่ละบุคคลมากกว่า เพราะฉะนั้นเราควรบริโภคแบบฟังหูไว้หูดีกว่าค่ะ จะไม่เกิดความลำเอียงและใช้ชีวิตในสายกลาง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว
หรือนักหนังสือพิมพ์ถือได้ว่าเป็นอาชีพที่มีลักษณะเป็นอาชีพนักข่าว "อาชีวปฏิญาณ" หรือคุณสมบัติดังนี้
ซึ่งต้องมีคุณลักษณะอีกอย่างหนึ่ง 1 การเป็นผู้ที่มีบุคลิกอยากรู้อยากเห็น (อยากรู้) เพราะความอยากรู้อยากเห็นสนใจในเหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นรอบ ๆ ตัวโดยชักนำไปสู่ความสงสัยใคร่รู้ถึงสาเหตุความเป็นมาของเหตุการณ์กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น ที่ถูกปิดบังเอาไว้เพื่อนำมาตีแผ่ให้สาธารณชนได้รับทราบในที่สุดข้อเท็จจริง
2 การเป็นคนช่างสังเกต (ใช้) เป็นบุคลิกคล้ายกับนักสืบต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกตในรายละเอียดเล็ก ๆ น้อย ๆ ของข้อเท็จจริงที่ประกอบขึ้นเป็นข่าวคือเนื่องจากรายละเอียดที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปกปิดร่องรอยเหตุการณ์
3 การไม่ไว้วางใจใครง่าย ๆ (ลลด) หรือเป็นคนช่างสงสัยบุคลิกนี้แม้จะทำดูประหนึ่งว่าในแง่ร้ายอยู่ตลอดเวลาแต่การไม่ไว้วางใจใครง่าย ๆ หรือเป็นคนช่างสงสัยจะทำให้ผู้ที่มีอาชีพนักข่าวได้คอยสอดส่องเป็นคนมองโลก ในฐานะตัวแทนของประชาชน
ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ4 การมีจมูกไวต่อข่าว (จมูกสำหรับข่าว) บุคลิกนี้เปรียบเสมือนกับเป็น "ประสาทสัมผัสที่หก" (ความรู้สึกที่หก) ซึ่งจะทำให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริงที่มีคุณค่าทางข่าวออกจากข้อมูลที่ได้รับมาทั้งหมดได้ของนักหนังสือพิมพ์หรือนักข่าว (ปม) ที่เป็นเหตุการณ์ออกมาเพื่อนำไปสู่การเปิดโปงพฤติกรรมต่าง ๆ ที่แฝงอยู่ในข้อเท็จจริงได้
5 ทำงานภายใต้ความกดดันได้เพราะผู้ประกอบอาชีพนี้จะต้องประสบกับความกดดันการเป็นคนที่มีความสามารถหลายรูปแบบทางภาวะเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากรายได้จากการประกอบอาชีพไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพทั้งความกดดัน อาจทำให้มีเวลาอยู่กับครอบครัวน้อยเกินไปนอกจากนี้ยังต้องมีเนื่องจากภาระหน้าที่ "เส้นตาย" (สิ้น) จะต้องรวดเร็วและถูกต้องในช่วงเวลาอันจำกัดอีกด้วยคอยกำกับการทำงาน
สรุปในแง่ของความคิดการเป็นนักข่าวนั้นมีทั้งของดีข้อเสียและเสี่ยงกับอุปสรรคมากมายแต่ทุกสายอาชีพคือไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบถ้าลองคิดในแง่ดีการที่เรามีข่าวสารดี ๆ มากมายเกิดขึ้น แต่ในแง่ไม่ดีก็คือข่าวบางประเภททำให้ผู้บริโภคเกิดการขัดแย้งกันก็เกิดขึ้นกับนักข่าวโปรดจงเข้าใจด้วยน่ค่ะว่าพวกบรรดานักข่าวไม่สามารถรู้ได้เลยและยุ่งเรื่องส่วนตัวมากเกินไป เพราะบางครั้งเป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่ายผู้จ้างที่มีเงินก็พอใจที่เลือกจ้างในราคาที่แพงส่วนคนเขียนก็ไม่มีใครปฏิเสธที่จะรับเงินค่าจ้างที่ในราคาสูงคงห้ามนักข่าวหรือผู้ประกอบวิชาชีพรับไม่ได้แน่ ๆ การมีอาชีพของเสริมเป็นที่ปรึกษาด้านภาพลักษณ์ของนักข่าวสมัยนี้บางครั้งบางกรณีก็ไม่ได้เสียหายถึงขั้นผิดจริยธรรมวิชาชีพ เพราะฉะนั้นเราควรบริโภคแบบฟังหูไว้หูดีกว่าค่ะจะไม่เกิดความลำเอียงและใช้ชีวิตในสายกลาง
ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่มุมมองและเจตนาของแต่ละบุคคลมากกว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว
อาชีพนักข่าว หรือนักหนังสือพิมพ์ ถือได้ว่าเป็นอาชีพที่มีลักษณะเป็น "อาชีวปฏิญาณ" อีกอย่างหนึ่ง ซึ่งต้องมีคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติดังนี้
1. การเป็นผู้ที่มีบุคลิกอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) เพราะความอยากรู้อยากเห็น กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้น สนใจในเหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นรอบๆ ตัว โดยชักนำไปสู่ความสงสัยใคร่รู้ถึงสาเหตุ ความเป็นมาของเหตุการณ์ จนกระทั่งออกไปค้นหา ข้อเท็จจริง ที่ถูกปิดบังเอาไว้ เพื่อนำมาตีแผ่ให้สาธารณชน ได้รับทราบในที่สุด
2. การเป็นคนช่างสังเกต (Observance) เป็นบุคลิกคล้ายกับนักสืบ คือ ต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกต ในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ของข้อเท็จจริงที่ประกอบขึ้นเป็นข่าว เนื่องจากรายละเอียด ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อปกปิดร่องรอยเหตุการณ์ ที่อาจกลายเป็นข่าวใหญ่ได้
3. การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆ (Cynical) หรือเป็นคนช่างสงสัย บุคลิกนี้แม้จะทำดูประหนึ่งว่า เป็นคนมองโลก ในแง่ร้ายอยู่ตลอดเวลา แต่การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆ หรือเป็นคนช่างสงสัย จะทำให้ผู้ที่มีอาชีพนักข่าวได้คอยสอดส่อง และกำกับการปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในฐานะตัวแทน ของประชาชน
4. การมีจมูกไวต่อข่าว (Nose for News) บุคลิกนี้เปรียบเสมือนกับเป็น "ประสาทสัมผัสที่หก" (Sixth Sense) ของนักหนังสือพิมพ์หรือนักข่าว ซึ่งจะทำให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ที่มีคุณค่าทางข่าว ออกจากข้อมูลที่ได้รับมาทั้งหมดได้ รวมทั้งแยกแยะเงื่อนงำ (Clues) ที่แฝงอยู่ในข้อเท็จจริง ที่เป็นเหตุการณ์ออกมา เพื่อนำไปสู่การเปิดโปง พฤติกรรมต่างๆ ได้
5. การเป็นคนที่มีความสามารถ ทำงานภายใต้ความกดดันได้ เพราะผู้ประกอบอาชีพนี้ จะต้องประสบกับ ความกดดัน หลายรูปแบบ ทั้งความกดดัน ทางภาวะเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากรายได้ จากการประกอบอาชีพ ไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพ และความกดดันทางครอบครัว เนื่องจากภาระหน้าที่ อาจทำให้มีเวลา อยู่กับครอบครัวน้อยเกินไป นอกจากนี้ ยังต้องมี "เส้นตาย" (Deadline) คอยกำกับการทำงาน จะต้องรวดเร็ว และถูกต้อง ในช่วงเวลาอันจำกัดอีกด้วย
สรุปในแง่ของความคิด คือ การเป็นนักข่าวนั้น มีทั้งของดีข้อเสีย และเสี่ยงกับอุปสรรคมากมาย แต่ทุกสายอาชีพ ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ ถ้าลองคิดในแง่ดีการที่เรามีข่าวสารดีๆ มากมายเกิดขึ้น ทำให้เราสามารถบริโภคข่าวสารที่มีประโยช์น ก็เกิดขึ้นกับนักข่าว แต่ในแง่ไม่ดี ก็คือ ข่าวบางประเภททำให้ผู้บริโภคเกิดการขัดแย้งกัน และยุ่งเรื่องส่วนตัวมากเกินไป โปรดจงเข้าใจด้วยน่ค่ะ ว่า พวกบรรดานักข่าวไม่สามารถรู้ได้เลย ถ้าไม่มีในเรื่องของผลประโยชน์หรือรับจ้างเขียนเรื่องให้ คงห้ามนักข่าวหรือผู้ประกอบวิชาชีพรับไม่ได้แน่ๆ เพราะบางครั้งเป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่าย ผู้จ้างที่มีเงินก็พอใจที่เลือกจ้างในราคาที่แพง ส่วนคนเขียนก็ไม่มีใครปฏิเสธที่จะรับเงินค่าจ้างที่ในราคาสูง อย่างไรก็ตาม การมีอาชีพของเสริมเป็นที่ปรึกษาด้านภาพลักษณ์ของนักข่าวสมัยนี้ บางครั้งบางกรณีก็ไม่ได้เสียหายถึงขั้นผิดจริยธรรมวิชาชีพ เพราะการเป็นที่ปรึกษาให้แหล่งข่าวบางครั้งไม่ได้หมายความว่าจะต้องมีค่าตอบแทนเป็นตัวเงินหรือผลประโยชน์เสมอไป ทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่มุมมองและเจตนาของแต่ละบุคคลมากกว่า เพราะฉะนั้นเราควรบริโภคแบบฟังหูไว้หูดีกว่าค่ะ จะไม่เกิดความลำเอียงและใช้ชีวิตในสายกลาง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความคิดเห็นของอาชีพนักข่าว
อาชีพนักข่าวหรือนักหนังสือพิมพ์ถือได้ว่าเป็นอาชีพที่มีลักษณะเป็น"อาชีวปฏิญาณ"อีกอย่างหนึ่งซึ่งต้องมีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติดังนี้
1 .การเป็นผู้ที่มีบุคลิกอยากรู้อยากเห็น(ความอยากรู้อยากเห็น)เพราะความอยากรู้อยากเห็นกระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้นสนใจในเหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นรอบๆตัวโดยชักนำไปสู่ความสงสัยใคร่รู้ถึงสาเหตุความเป็นมาของเหตุการณ์ข้อเท็จจริงที่ถูกปิดบังเอาไว้เพื่อนำมาตีแผ่ให้สาธารณชนได้รับทราบในที่สุด
2 .การเป็นคนช่างสังเกต(ฉ)เป็นบุคลิกคล้ายกับนักสืบคือต้องเป็นผู้ที่ช่างสังเกตในรายละเอียดเล็กๆน้อยๆของข้อเท็จจริงที่ประกอบขึ้นเป็นข่าวเนื่องจากรายละเอียดที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อปกปิดร่องรอยเหตุการณ์
3 .การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆ(อิรัก)หรือเป็นคนช่างสงสัยบุคลิกนี้แม้จะทำดูประหนึ่งว่าเป็นคนมองโลกในแง่ร้ายอยู่ตลอดเวลาแต่การไม่ไว้วางใจใครง่ายๆหรือเป็นคนช่างสงสัยจะทำให้ผู้ที่มีอาชีพนักข่าวได้คอยสอดส่องของเจ้าหน้าที่ของรัฐในฐานะตัวแทนของประชาชน
4 .การมีจมูกไวต่อข่าว(จมูกสำหรับข่าว)บุคลิกนี้เปรียบเสมือนกับเป็น"ประสาทสัมผัสที่หก"(ที่หกสัมผัส)ของนักหนังสือพิมพ์หรือนักข่าวซึ่งจะทำให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริงที่มีคุณค่าทางข่าวออกจากข้อมูลที่ได้รับมาทั้งหมดได้(เบาะแส)ที่แฝงอยู่ในข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุการณ์ออกมาเพื่อนำไปสู่การเปิดโปงพฤติกรรมต่างๆได้
5 .การเป็นคนที่มีความสามารถ ทำงานภายใต้ความกดดันได้ เพราะผู้ประกอบอาชีพนี้จะต้องประสบกับความกดดันหลายรูปแบบทั้งความกดดัน ทางภาวะเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากรายได้จากการประกอบอาชีพไม่เพียงพอต่อการดำรงชีพเนื่องจากภาระหน้าที่ อาจทำให้มีเวลาอยู่กับครอบครัวน้อยเกินไปนอกจากนี้ยังต้องมี"เส้นตาย"(วันสุดท้าย)คอยกำกับการทำงานจะต้องรวดเร็วและถูกต้องในช่วงเวลาอันจำกัดอีกด้วย
สรุปในแง่ของความคิดคือการเป็นนักข่าวนั้นมีทั้งของดีข้อเสียและเสี่ยงกับอุปสรรคมากมายแต่ทุกสายอาชีพไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบถ้าลองคิดในแง่ดีการที่เรามีข่าวสารดีๆมากมายเกิดขึ้นก็เกิดขึ้นกับนักข่าวแต่ในแง่ไม่ดีก็คือ ข่าวบางประเภททำให้ผู้บริโภคเกิดการขัดแย้งก และยุ่งเรื่องส่วนตัวมากเกินไปโปรดจงเข้าใจด้วยน่ค่ะว่าพวกบรรดานักข่าวไม่สามารถรู้ได้เลยคงห้ามนักข่าวหรือผู้ประกอบวิชาชีพรับไม่ได้เพราะบางครั้งเป็นที่พอใจกันทั้งสองฝ่ายผู้จ้างที่มีเงินก็พอใจที่เลือกจ้างในราคาทีส่วนคนเขียนก็ไม่มีใครปฏิเสธที่จะรับเงินค่าการมีอาชีพของเสริมเป็นที่ปรึกษาด้านภาพลักษ บางครั้งบางกรณีก็ไม่ได้เสียหายถึงขั้นผิดจรทั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยู่มุมมองและเจตนาของแต เพราะฉะนั้นเราควรบริโภคแบบฟังหูไว้หูดีกว่า จะไม่เกิดความลำเอียงและใช้ชีวิตในสายกลาง
ตามมาตรฐาน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: